หมายถึง ว. มีท่าทางภูมิฐานผิวพรรณมีน้ำมีนวล.
หมายถึง [-เสบ] (แบบ) น. สังเขป เช่น สวมแสดงบันทึกสาร สงเษป ไส้พ่อ. (ยวนพ่าย). (ส. สํเกฺษป; ป. สงฺเขป).
หมายถึง [-กอน] (แบบ) น. การปะปน, การคาบเกี่ยว. (ป.; ส. สํกร).
หมายถึง [-คอน] (แบบ) น. ความตกลง, สัญญา, ความผัดเพี้ยน. (ป. สงฺคร; ส. สํคร).
หมายถึง [สะตะพิดชะ, สะตะพิสัด] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๔ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปทิมทองหรือมังกร, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์ ก็เรียก.
หมายถึง [สะ-] น. คำยกย่อง, คำสรรเสริญ, (โดยปรกติใช้ในลักษณะเป็นพิธีการ), เช่น กล่าวสดุดีวีรกรรมของทหาร. (ส. สฺตุติ; ป. ถุติ).
หมายถึง (ไว) น. เพศของคำที่เป็นเพศหญิง เช่น ย่า ยาย แม่ นารี, อิตถีลิงค์ ก็ว่า. (ส. สฺตรีลิงฺค; ป. อิตฺถีลิงฺค).
หมายถึง [สะตะ-] น. หมวด ๑๐๐, จำนวนร้อย. (ป.).
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด
หมายถึง น. ภิกษุ เช่น ของสงฆ์ พิธีสงฆ์, บางทีก็ใช้ควบกับคำ พระ หรือ ภิกษุ เป็น พระสงฆ์ หรือ ภิกษุสงฆ์ เช่น นิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ มีภิกษุสงฆ์มารับบิณฑบาตมาก, ลักษณนามว่า รูป หรือ องค์ เช่น ภิกษุสงฆ์ ๒ รูป พระสงฆ์ ๔ องค์; ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป more info เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. (ป. สงฺฆ; ส. สํฆ).
หมายถึง ก. ระงับกิริยาวาจาด้วยความสุภาพเรียบร้อย เช่น เวลาอยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ต้องสงบเสงี่ยมเจียมตัว.
Reality Social isn’t performing nicely. Past Trump’s brain-poisoned posts, there are not many reasons to go to and the location’s dwindling fortunes mirror that.
หมายถึง ว. ใหม่และบริสุทธิ์ทำให้เบิกบานใจและกระปรี้กระเปร่าขึ้น เช่น จิตใจสดชื่น อากาศสดชื่น ดอกไม้บานสดชื่น ผิวพรรณสดชื่น หน้าตาสดชื่น.
หมายถึง [สะกน] น. ขันธ์, กอง, ส่วนร่างกาย, ร่างกาย. (ส.; ป. ขนฺธ).